Mind Mapping (เนื้อหา/ครู)
คำถามหลัก (Big Question) : นักเรียนจะเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างไรให้เกิดคุณค่าต่อตนเองละส่วนรวม
ภูมิหลังของปัญหา : สังคมแห่งความรีบเร่งในปัจจุบันทุกคนต่างไขว่ขว้าหาสิ่งอำนวยความสะดวกมากขึ้นเพื่อตอบสนองความนิยมทางวัตถุเช่น
มือถือ ไอแพค แท็บเล็ต
ซึ่งส่งผลให้เกิดปัญหาด้านการปฏิสัมพันธ์ การพูดคุยระหว่างเพื่อน
และครอบครัวน้อยลง และในสังคมใช้สื่อเทคโนโลยีจำนวนมากในการสื่อสาร
แลกเปลี่ยนและแสดงความคิดเห็นต่างๆ
ทำให้คนในสังคมมีการติดต่อสื่อสารถึงกันได้ง่ายและมีความรวดเร็วมากกว่าอดีตมาก
มีการทำกิจกรรมหลายสิ่งหลายอย่างร่วมกันง่ายขึ้น
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารก่อให้เกิดประโยชน์ในด้านต่างๆ
เช่น ด้านการศึกษา ด้านการสาธารณสุข ด้านการคมนาคม
ด้านการเกษตรและอุตสาหกรรม ฯ ถึงแม้เทคโนโลยีจะมีประโยชน์มากมายเพียงใด
หากใช้ไม่ถูกวิธีและใช้แบบไม่สร้างสรรค์ ยังส่งผลให้เกิดปัญหาต่างๆตามมาได้ เช่น
ความแตกแยกในสังคม สถาบันครอบครัว และการละเมิดสิทธิของผู้อื่น จากปัญหาดังกล่าวมาพี่
ป.5 จึงสนใจเรียนรู้ หน่วย: ICT สร้างสรรค์ใน Quarter
4/2557
เป้าหมาย(Understanding Goal) :
1
.เข้าใจและสามารถวิเคราะห์
สังเคราะห์ผลกระทบของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศต่อตนเองและผู้อื่น
2. เข้าใจกระบวนการสร้างสรรค์สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศสามารถออกแบบวางแผนทำสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศที่สร้างคุณค่าต่อส่วนรวมได้
ปฎิทินการเรียนรู้รายสัปดาห์
ปฏิทินการเรียนรู้แบบบูรณาการ PBL (
Problem Based Learning )
หน่วย : เด็กยุค ICT in the special class
ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่
5
Quarter 4 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2557
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
1
|
โจทย์ : สร้างฉันทะ/วางแผนการเรียนรู้
Key Questions :
- เหตุการณ์ที่นักเรียนประทับใจในช่วงปิดเรียนมีอะไรบ้าง
- นักเรียนจะตั้งชื่อหน่วยนี้ว่าอะไร
เพราะเหตุใดจึงใช้ชื่อนั้น
- สิ่งที่นักเรียนรู้แล้ว/สิ่งที่อยากเรียนรู้ใน
Quarter นี้มีอะไรบ้าง
เครื่องมือคิด :
Round Robin : ครูและนักเรียนพูดคุยเกี่ยวกับเหตุการณ์ในช่วงปิดเรียน
Think Pair Share ,Blackboard Share : ตั้งชื่อหน่วย
Blackboard Share สิ่งที่รู้แล้ว
สิ่งที่อยากเรียนรู้
Mind Mapping : ก่อนการเรียนรู้
Wall Thinking : สิ่งที่รู้แล้วสิ่งที่อยากเรียนรู้(แผ่นใหญ่)
สื่อและแหล่งเรียนรู้:
- บรรยากาศในชั้นเรียน
-
หนังสือ/ห้องสมุด
- กระดาษบรูฟ
- สี/ปากกา
|
กระบวนการได้มาซึ่งหัวข้อ
-
ครูและนักเรียนสนทนาถึงเหตุการณ์ในช่วงปิดภาคเรียนมีอะไรบ้าง ผ่านเครื่องมือคิด Round
Robin
- ครูกระตุนคิดด้วยคำถาม
Ø เรื่องที่นักเรียนสนใจอยากเรียนรู้เป็นพิเศษเกี่ยวข้องกับอะไรบ้าง
- นักเรียนจัดประเภทเรื่องที่สนใจอยากเรียนรู้
ผ่านเครื่องมือคิด Card and Chart
- วาดภาพตกแต่งหน้าห้องเรียน
กระบวนการวางแผนการเรียนรู้
- นักเรียนตั้งชื่อหน่วย ผ่านเครื่องมือคิด Think Pair
Share และ Blackboard Share
- นักเรียนเขียนสิ่งที่รู้แล้ว(รายบุคคล)
- นักเรียนเขียนสิ่งที่รู้แล้ว(แผ่นใหญ่)
ผ่านเครื่องมือคิด Blackboard Share
- สรุปองค์ความรู้ก่อนเรียนผ่านเครื่องมือคิด
Mind Mapping
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ภาระงาน
- การสนทนาตอบคำถามแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่ได้ดู
ได้ฟัง
- แสดงความคิดเห็นให้เหตุผลประกอบเรื่องที่อยากเรียนรู้
- ระดมสมองตั้งชื่อหน่วย
ชิ้นงาน
- เขียนเรื่องที่อยากเรียนรู้
- สิ่งที่รู้แล้ว
สิ่งที่อยากเรียนรู้
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
- สรุปองค์ความรู้ก่อนเรียน
(Mind Mapping)
- ทำสิ่งที่รู้แล้วและสิ่งที่อยากเรียนรู้
(แผ่นใหญ่)
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้
เข้าใจกระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน สามารถอธิบายและให้เหตุผลในสิ่งที่อยากเรียนรู้ได้
ทักษะ
ทักษะชีวิต
-
ใช้กำลังกายในการทำกิจกรรมต่างๆได้อย่างเหมาะสมและปลอดภัย
-
ใช้ทรัพยากรของห้องที่มีอยู่อย่างจำกัดให้คุ้มค่าและเหมาะสม
-
รู้จักรักษาและเห็นคุณค่าของอุปกรณ์ที่เป็นของส่วนรวม
ทักษะการสื่อสาร
- สนทานาเกี่ยวกับเหตุการณ์ที่ประทับใจในช่วงปิดภาคเรียนที่ผ่านมา
- พูดนำเสนอในเรื่องที่อยากเรียนรู้ให้ครูและเพื่อนฟังอย่างมีเหตุผล
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
สามารถทำงานเป็นทีมและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นได้
ทักษะการคิด
สามารถคิดวิเคราะห์
สังเคราะห์ข้อมูลสิ่งที่อยากเรียนรู้ได้
คุณลักษณะ
- รักการเรียนรู้กระตือรือร้นในการทำงาน
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|
2
|
โจทย์ : รายงาน
Key Questions :
- นักเรียนจะออกแบบวางแผนการเรียนรู้ในQuarter นี้อย่างไรให้น่าสนใจและเกิดการเรียนรู้
- นักเรียนจะนำเสนอเรื่องที่สนใจผ่านรายงานได้อย่างไร
- ข้อมูลที่ได้มีความน่าเชื่อถือมากน้อยเพียงใด
เพราะเหตุใด
เครื่องมือคิด :
Round Robin : สนทนาเกี่ยวกับข้อมูลที่ได้
ชักเย่อความคิด : ข้อมูลที่ได้มีความน่าเชื่อถือมากน้อยเพียงใด
สื่อและแหล่งเรียนรู้:
- บรรยากาศในชั้นเรียน
-
หนังสือ/ห้องสมุด
- สี/ปากกา
|
- นักเรียนออกแบบปฏิทินการเรียนรู้รายสัปดาห์
(รายบุคคล)
- นักเรียนแบ่งกลุ่ม 3-4 คนออกแบบปฏิทินการเรียนรู้รายสัปดาห์ (แผ่นใหญ่)
- ครูกระตุ้นคิดด้วยคำถาม
Ø นักเรียนจะหาข้อมูลในเรื่องที่สนใจจากแหล่งข้อมูลไดบ้าง
Ø ข้อมูลที่ได้มีความน่าเชื่อถือมากน้อยเพียงใด
เพราะเหตุใดผ่านเครื่องมือคิดชักเย่อความคิด
- นักเรียนจับคู่ค้นคว้าข้อมูลในเรื่องที่สนใจจากแหล่งข้อมูลต่างๆพร้อมทั้งสรุปความเข้าใจของตนเอง
- นักเรียนศึกษาการทำรูปเล่มรายงานจาก
รายงานการค้นคว้าอิสระของพี่ป.6
- นักเรียนแต่ละคู่ทำการจัดระบบข้อมูลที่ได้ศึกษามาให้อยู่ในรูปแบบของรายงาน
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ภาระงาน
- ออกแบบปฏิทินการเรียนรู้รายสัปดาห์
- ค้นคว้าข้อมูลในเรื่องที่สนใจ
- ศึกษารายงานการค้นคว้าอิสระของพี่ป.6
ชิ้นงาน
- ทำเค้าโครงปฏิทินการเรียนรู้รายสัปดาห์
- ทำปฏิทินการเรียนรู้(แผ่นใหญ่)
- รายงานในเรื่องที่สนใจศึกษา
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้
เข้าใจการศึกษาข้อมูลจากแหล่งต่างๆและสามรถจัดระบบของข้อมูลด้วยความเข้าใจของตนเองและนำเสนอในรูปแบบของราย
งานได้
ทักษะ
ทักษะชีวิต
-
ใช้ทรัพยากรของห้องที่มีอยู่อย่างจำกัดให้คุ้มค่าเช่นสี, กระดาษ
-
การเลือกใช้เครื่องมือในการสร้างสรรค์ชิ้นงานได้อย่างคุ้มค่า และเหมาะสม
-
รู้เท่าทันข้อมูลจากการค้าคว้าผ่านอินเตอร์เน็ตและผู้รู้ฯลฯ
ทักษะการสื่อสาร
-สัมภาษณ์/สอบถามในเรื่องที่สนใจ จาก คุณครู
คุณลุง คุณป้า ฯลฯ
-
พุดแสดงความคิดเห็นได้อย่างเหมาะสมในการตอบคำถาม
ทักษะการคิด
- คิดรวบรวม/เรียบเรียงข้อมูลที่ได้ให้เป็นความเข้าใจของตนเองผ่านการเขียนได้
- คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลที่สนใจได้
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
สามารถทำงานเป็นทีมและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นได้
คุณลักษณะ
- กระตือรือร้นในการทำงาน
- มีความพยายามทำงานจนสำเร็จ
-
รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- กล้าแสดงความคิดเห็น
|
3-4
|
โจทย์ : หนังสืออิเล็คทรอนิค ( E book )
Key Questions :
- โปรแกรมนำเสนอข้อมูลที่นักเรียนรู้จักมีอะไรบ้าง
- โปรแกรมใดบ้างที่สามารถนำเสนอข้อมูลได้ทั้งตัวอักษรและรูปภาพ
- นักเรียนจะนำเสนอสิ่งที่สนใจอย่างไรผ่านโปรแกรมนำเสนออย่างไร
เครื่องมือคิด :
Round Robin : อภิปรายร่วมกันจากคำถาม
Flow Chard : สรุปวิธีการดาวโหลดและวิธีการใช้โปรแกรมผ่าน
Show and Share : อภิปรายร่วมกันถึงวิธีการใช้โปรแกรมผ่าน
สื่อและแหล่งเรียนรู้:
- บรรยากาศในชั้นเรียน
-
หนังสือ/ห้องสมุด
- สี/ปากกา
- คอมพิวเตอร์
- ไอแพด
|
- ครูกระตุ้นการคิดด้วยคำถาม
Ø นักเรียนจะนำเสนอสิ่งที่สนใจอย่างไรผ่านโปรแกรมนำเสนออย่างไร
Ø โปรแกรมนำเสนอข้อมูลที่นักเรียนรู้จักมีอะไรบ้าง
Ø โปรแกรมใดบ้างที่สามารถนำเสนอข้อมูลได้ทั้งตัวอักษรและรูปภาพ
- ครูและนักเรียนอภิปรายร่วมกันจากคำถามผ่านเครื่องมือคิด
Round Robin
- นักเรียนแต่ละคู่ศึกษาโปรแกรมนำเสนอที่ตนเองสนใจ(
วิธีการติดตั้ง วิธีการใช้โปรแกรม)
-
นักเรียนสรุปวิธีการดาวโหลดและวิธีการใช้โปรแกรมผ่านเครื่องมือคิด Flow Chard
- นักเรียนดาวโหลดโปรแกรมพร้อมทั้งติดตั้ง
-
ครูและนักเรียนอภิปรายร่วมกันถึงวิธีการใช้โปรแกรมผ่านเครื่องมือคิด Show and
Share
- นักเรียนจัดทำและนำเสนอความคืบหน้าของงาน
-
นักเรียนนำเสนองานที่เสร็จสมบูรณ์ให้ครูและเพื่อนฟัง
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ภาระงาน
- ครูและนักเรียนอภิปรายร่วมกันเกี่ยวกับวิธีการใช้โปรแกรมผ่าน
-ศึกษาโปรแกรมนำเสนอที่ตนเองสนใจ
- ดาวโหลดโปรแกรมพร้อมทั้งติดตั้ง
ชิ้นงาน
- Flow Chard วิธีการดาวโหลดและวิธีการใช้โปรแกรม
- หนังสืออิเล็กทรอนิค
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้
เข้ากระบวนการนำเสนองานผ่านโปรแกรมนำเสนอต่างๆเช่น e-book
,word ,power point ฯลฯ และสามารถติดตั้งโปรแกรม e-book ได้
ทักษะ
ทักษะชีวิต
-
ใช้ทรัพยากรของห้องที่มีอยู่อย่างจำกัดให้คุ้มค่าและเหมาะสม เช่น สี
กระดาษ กรรไกร ไอแพด คอมพิวเตอร์
-
เก็บกวาด อุปกรณ์ ทุกครั้งหลังทำงานเสร็จ
ทักษะการสื่อสาร
- อธิบายสิ่งที่ตนเอง/กลุ่มวางแผนและจัดทำได้
ทักษะการคิด
- คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์
การเลือกใช้โปรแกรมได้
- คิดสร้างสรรค์ผลงานผ่าน e-book ได้
คุณลักษณะ
- กระตือรือร้นในการทำงาน
- มีความพยายามทำงานจนสำเร็จ
-
รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- กล้าแสดงความคิดเห็นได้อย่างเหมาะสม
|
5-6
|
โจทย์ : I movie
Key Questions :
- นักเรียนจะนำเสนอเรื่องที่สนใจผ่านโปรแกรม I movie ได้อย่างไร
- โปรแกรม I movie เหมือนหรือแตกต่างจากโปรแกรม VDO อื่นๆอย่างไร
เครื่องมือคิด :
Brainstorms : ระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับการใช้เครื่องมือโปรแกรมต่างๆในการสร้างสรรค์ผลงาน
Round Rubin :
- รายงานความคืบหน้าของการทำงาน รวมทั้งปัญหาอุปสรรคที่พบในระหว่างการทำงาน
- การแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับโปรแกรม
I movie
Show and Share : นำเสนอชิ้นงาน
( VDO)
Flow Chart : การใช้โปรแกรม I
movie
สื่อและแหล่งเรียนรู้:
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- ห้องสมุด
- อินเตอร์เน็ต
- คอมพิวเตอร์
- โปรแกรม I movie
- ผู้รู้
|
- ครูเปิด VDO ที่ผ่านการตัดต่อโดยโปรแกรม I movie ให้เด็กๆดู
- ครูกระตุ้นคิดด้วยคำถาม
Ø นักเรียนได้เรียนรู้อะไรจาก VDO
Ø VDO ที่ได้ดูแตกต่างหรือเหมือนกับที่เคยดูอย่างไร
- นักเรียนแต่ละคู่ศึกษาการใช้โปรแกรม I movie พร้อมทั้งสรุปความเข้าใจผ่านเครื่องมือคิด Flow Chard
- นักเรียนวางเค้าโครงเรื่องลำดับของเนื้อหา
- นักเรียนออกแบบวางแผน Story
Board
- นักเรียนดำเนินการถ่ายทำ VDO
- นักเรียนแต่ละคู่รายงานความคืบหน้าของการดำเนินงาน
และอภิปรายร่วมกันถึงปัญหาที่พบขณะดำเนินงาน
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ภาระงาน
- ดูVDO พร้อมทั้งตอบคำถามจากเรื่องที่ได้ดู
- นักเรียนวางเค้าโครงเรื่องลำดับของเนื้อหา
- ถ่ายทำตาม Story Board
- นำเสนอ VDO
ชิ้นงาน
- Flow Chard การใช้โปรแกรม I
movie
- Story Board
- VDO ของแต่ละคู่
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้
เข้ากระบวนการนำเสนองานผ่านโปรแกรม I movie และสามารถสร้างสรรค์งานผ่านโปรแกรม I movie ได้
ทักษะ
ทักษะชีวิต
- การเลือกใช้เครื่องมือในการคิด
สร้างสรรค์ชิ้นงานได้อย่างคุ้มค่า และเหมาะสม
- เข้าใจและมีเป้าหมายในการเรียนรู้สิ่งที่ตนเอง/กลุ่มสนใจ
-
รู้จักรักษาและเห็นคุณค่าของอุปกรณ์ที่เป็นของส่วนรวม
ทักษะการสื่อสาร
- อธิบายสิ่งที่ตนเอง/กลุ่มวางแผนและสร้างVDOเรื่องที่สนใจให้ผู้อื่นเข้าใจได้
- นำเสนอความคืบหน้าของการทำงานพร้อมทั้งปัญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้นได้
ทักษะการคิด
-
การคิดวิเคราะห์กระบวนการทำงานและข้อมูลเกี่ยวโปรแกรมการตัดต่อVDO
- สังเคราะห์ สร้างสรรค์ผลงาน
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
สามารถทำงานเป็นทีมและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นได้
คุณลักษณะ
- กระตือรือร้นในการทำงาน
- มีความพยายามทำงานจนสำเร็จ
-
รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- กล้าแสดงความคิดเห็น
|
7
|
โจทย์ : ตัดต่อ
Key Questions : นักเรียนจะตัดต่อ VDO ให้น่าสนใจอย่างไร
เครื่องมือคิด :
Round Robin : ครูและนักเรียนสนทนาถึงการตัดต่อ
VDO ให้น่าสนใจ
Show
and Share : นักเรียนนำเสนอความคืบหน้าของการตัดต่อ
VDO
สื่อและแหล่งเรียนรู้:
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- ห้องสมุด
- ไอแพด
- คอมพิวเตอร์
|
- ครูกระตุ้นคิดด้วยคำถาม
Ø นักเรียนจะตัดต่อ VDO ให้น่าสนใจอย่างไรผ่านเครื่องมือคิด Round Robin
- นักเรียนแต่ละคู่ระดมความคิดในการตัดต่อ VDO ตามที่วางแผนและครูแนะนำเพิ่มเติมในการเก็บข้อมูล
- นักเรียนนำเสนอความคืบหน้าการตัดต่อ VDO ครูและเพื่อนร่วมสะท้อนผลงาน
-
ครูและนักเรียนอภิปรายร่วมกันเกี่ยวกับปัญหาและอุปสรรคที่พบในการตัดต่อ
พร้อมทั้งเสนอแนะแนวทางแก้ไขผ่านเครื่องมือคิด Round
Robin
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ภาระงาน
- วางแผนการตัดต่อ VDO
- ตัดต่อ VDO
- สนทนาแลกเปลี่ยนสะท้อนถึงปัญหาที่เกิดขึ้นพร้อมทั้งแนวทางแก้ไข
- นำเสนอความคืบหน้าของการทำงาน
ชิ้นงาน
- VDO ที่ตัดต่อด้วยตัวเอง
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้
เข้าใจการใช้โปรแกรม I movie ในการตัดต่องาน และสามารถใช้ I movie
สร้างสรรค์ผลงานได้อย่างน่าสนใจ
ทักษะ
ทักษะชีวิต
- สามารถตัดต่อ VDO ได้
- เข้าใจและมีเป้าหมายในการเรียนรู้สิ่งที่ตนเอง/กลุ่ม
- รู้จักรักษาและเห็นคุณค่าของอุปกรณ์ที่เป็นของส่วนรวมพร้อมทั้งเก็บกวาดเมื่อใช้งานเสร็จ
- สามรถใช้โปรแกรม I
movie ในการตัดต่อ VDO ได้
ทักษะการสื่อสาร
สื่อสารกับเพื่อนร่วมทีมได้อย่างมีเหตุผล
ทักษะการคิด
- คิดวางแผนการตัดต่ออย่างเป็นลำดับขั้นตอนได้
- คิดสร้างสรรค์ผลงานได้
คุณลักษณะ
-
มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
- เคารพและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|
8
|
โจทย์ : เผยแพร่ผลงานผ่าน Social Network
Key Questions :
- นักเรียนได้เรียนรู้อะไรจากการนำเสนอผลงานเผยแพร่ผ่าน
Social Network
- Social Network ที่นักเรียนรู้จักมีอะไรบ้าง
เครื่องมือคิด :
Round Robin: ครูและนักเรียนพูดคุยสนทนาเกี่ยวกับ Social
Network ในปัจจุบัน
Show and Share : นำเสนอชิ้นงาน
สื่อและแหล่งเรียนรู้:
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- ห้องสมุด
- ข่าวภัยของ Social
Network
- อินเตอร์เน็ต
- คอมพิวเตอร์
- Social Network เช่น face
book, you tube, blockger เป็นต้น
|
- ครูกระตุ้นคิดด้วยคำถาม
Ø เมื่อหน่วยความจำในไอแพดเต็มนักเรียนจะทำอย่างไร
Ø นักเรียนจะทำอย่างไรให้สามารถนำเสนอหรืออ่านข้อมูลที่เรามีโดยที่ไม่ใช้อุปกรณ์เดิม(ไอแพดหรือคอมพิวเตอร์เครื่องที่ใช้บันทึกข้อมูล)
- ครูและนักเรียนอภิปรายร่วมกัน
- นักเรียนอ่านข่าวภัยของ Social
Network
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด
Ø จากการอ่านข่าวนักเรียนเห็นอะไร/รู้สึกอย่างไร
ถ้าอยู่ในเหตุการณ์จะทำอย่างไร
Ø
Social Network ที่นักเรียนรู้จักมีอะไรบ้าง
- ครูและนักเรียนพูดคุยสนทนาเกี่ยวกับ Social
Network ในปัจจุบันผ่านเครื่องมือคิด Round Rubin
- นักเรียนแต่ละคู่เลือกช่องทางในการเผยแพร่ผลงานให้คนอื่นสนใจ
และศึกษาค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับช่องทางที่เลือก
- สรุปเกี่ยวกับ Social Network ผ่านนิทาน
- นักเรียนแต่ละคู่เผยแพร่ผลงานตามช่องทางที่เลือกครูกระตุ้นคิดด้วยคำถามต่อว่า
Ø
นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้างจากการนำเสนองานผ่าน
Social Network
- นักเรียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ภาระงาน
- อภิปรายร่วมกันในเรื่องของการถ่ายโอนข้อมูล
- อ่านข่าวภัยของ Social
Network
- พูดคุยสนทนาเกี่ยวกับ Social
Network ในปัจจุบัน
ชิ้นงาน
- สรุปเกี่ยวกับ Social Network ผ่านนิทาน
- ผลงานที่เผยแพร่ใน Social Network
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้
เข้าใจกระบวนการถ่ายโอนข้อมูลในรูปแบบต่างๆ
และสามารถเผยแพร่ผลงานผ่าน Social Network ได้
ทักษะ
ทักษะชีวิต
-เห็นการเชื่อมโยง
เห็นความสัมพันธ์ของเนื้อหาและกิจกรรมที่เรียน
- เข้าใจและมีเป้าหมายในการเรียนรู้สิ่งที่ตนเอง/กลุ่ม
- รู้จักรักษาและเห็นคุณค่าของอุปกรณ์ที่เป็นของส่วนรวม
ทักษะการสื่อสาร
สื่อสารกับผู้อื่นผ่าน Social
Network ได้อย่างเหมาะสม
ทักษะการคิด
- คิดวางแผนการทำงานอย่างเป็นลำดับขั้นตอนได้
- คิดวิเคราะห์สิ่งที่ได้เรียนรู้จาก Social
Network ได้
คุณลักษณะ
- มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
- การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|
9
|
โจทย์ : ทบทวน/ใคร่ครวญ
Key Questions :
- นักเรียนจะเป็นผู้ฟังที่ดีอย่างไรเพราะเหตุใด
- นักเรียนจะถ่ายทอดเหตุการณ์ที่เสียใจและขับข้องใจให้มีสติได้อย่างไร
- สิ่งที่ทำดีแล้ว
และสิ่งที่ควรพัฒนามีอะไรบ้าง
เครื่องมือคิด :
สติสนทนา :
- ทบทวน/ใคร่ครวญกิจกรรมที่เรียนมาทั้ง 8
สัปดาห์
- บรรยายเหตุการณ์ที่ทำให้นักเรียนรู้สึกเสียใจและขับข้อง
- บรรยายเหตุการณ์ที่ทำให้นักเรียนรู้สึกเสียใจและขับข้องในด้านบวก
Wall
Thinking :
- เขียนบรรยายเหตุการณ์ที่ทำให้นักเรียนรู้สึกเสียใจและขับข้อง
- เขียนบรรยายเหตุการณ์ที่ทำให้นักเรียนรู้สึกเสียใจและขับข้องในด้านบวก
สื่อและแหล่งเรียนรู้:
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- ห้องสมุด
- บริเวณต่างๆภายในโรงเรียน
- อินเตอร์เน็ต
- คอมพิวเตอร์
|
- นักเรียนทบทวน/ใคร่ครวญกิจกรรมที่เรียนมาทั้ง
8 สัปดาห์ผ่านกิจกรรมสติสนทนา
- นักเรียนจับคู่(คู่เดิมที่ทำงานร่วมกัน)
หามุมสงบภายในบริเวณโรงเรียน จากนั้นให้หนึ่งคน(A) เริ่มต้นเล่ากิจกรรมและปัญหาอุปสรรคที่พบตลอดที่ทำงานร่วมกันตั้งแต่เริ่มต้นจนถึงปัจจุบันโดยที่อีกคน(B)ฟังอย่างตั้งใจและใช้สติในการฟัง เมื่อAเล่าจนจบB
ก็เริ่มกิจกรรมและปัญหาอุปสรรคที่พบตลอดที่ทำงานร่วมกันตั้งแต่เริ่มต้นจนถึงปัจจุบันเช่นกันโดยที่Aฟังอย่างตั้งใจและใช้สติในการฟัง
- ครูกระตุ้นคิดด้วยคำถาม
Ø เหตุการณ์ใดบ้างที่ทำให้นักเรียนรู้สึกเสียใจและขับข้องใจตลอดระยะเวลาที่ทำงานร่วมกัน
Ø ในเหตุการณ์ที่ทำให้นักเรียนเสียใจและขับข้องใจนั้นมองในด้านบวกนักเรียนเห็นอะไรบ้างและรู้สึกอย่างไร
Ø จะดีกว่านี้ไหมถ้า..................
- นักเรียนเขียนบรรยายเหตุการณ์ที่ทำให้นักเรียนรู้สึกเสียใจและขับข้อง
- นักเรียนเขียนบรรยายเหตุการณ์ที่ทำให้นักเรียนรู้สึกเสียใจและขับข้องในด้านบวก
-
นักเรียนระดมความคิดเขียน “ สิ่งที่ทำได้ดี และ สิ่งที่ควรพัฒนา
เกี่ยวกับการเรียนหน่วย “เด็กยุค ICT in the special class”
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ภาระงาน
- ใช้สติในการสนทนาถึงกิจกรรม
ปัญหาอุปสรรคที่เกิดขึ้นและเหตุการณ์ที่ทำให้เสียใจ
ชิ้นงาน
- เขียนบรรยายเหตุการณ์ที่ทำให้นักเรียนรู้สึกเสียใจและขับข้อง
- เขียนบรรยายเหตุการณ์ที่ทำให้นักเรียนรู้สึกเสียใจและขับข้องในด้านบวก
- สิ่งที่ดีแล้วสิ่งที่ควรพัฒนา
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้
ทักษะ
ทักษะชีวิต
- เลือกบริเวณสงบภายในโรงเรียนเพื่อใคร่ครวญสิ่งที่ได้เรียนรู้
ทักษะการสื่อสาร
- พูดนำเสนอสิ่งที่ได้เรียนรู้พร้อมทั้งเรื่องที่ทำให้ขับข้องใจให้เพื่อนฟังอย่างมีสติ
- รับฟังขณะเพื่อนพูดอย่างมีสติ
ทักษะการคิด
- คิดใคร่ครวญสิ่งที่ได้เรียนรู้อย่างมีสติ
-
เปลี่ยนความคิดจากเรื่องที่ทำให้เสียใจเป็นมุมมองด้านบวกได้
คุณลักษณะ
- รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
-
ไม่ใช้อารมส่วนตัวในการตัดสินความคิดเห็นของผู้อื่น
|
10
|
โจทย์ : สรุปองค์ความรู้ หน่วย”เด็กยุค ICT in the special class”
Key Questions :
- นักเรียนจะเผยแพร่องค์ความรู้
หน่วย”เด็กยุค ICT in the specail class”ให้ผู้อื่นเข้าใจได้อย่างไร
- นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้างใน Quarterนี้
เครื่องมือคิด :
Blackboard Share :
- ระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับการเผย
แพร่ความรู้เรื่องเกี่ยวกับ หน่วย “เด็กยุค ICT in
the special class”
Round Robin : การแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกิจกรรมที่ได้เรียนรู้ผ่านมาทั้ง Quarter
Show and Share : นำเสนอการประเมินตนเองเกี่ยวกับสิ่งที่ตนเองสามารถทำอะไรได้ดีแล้ว
และอะไรที่ต้องพัฒนา
Mind Mapping : สรุปองค์ความรู้หลังการเรียนรู้
สื่อและแหล่งเรียนรู้:
- ห้องเรียน
- กระดาษ A4, A3
- หน้าอาคารประถม
- TV นำสนอ VDO
|
-
นักเรียนร่วมกันทบทวนกิจกรรมที่เรียนผ่านมาทั้งหมดในหน่วย “เด็กยุค ICT in the special class”
- นักเรียนเขียนสรุปองค์ความรู้เป็น Mind Mapping หลังเรียน/
นำเสนอ
-
นักเรียนและครูร่วมกันประเมินเพื่อสะท้อนผลงาน
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ภาระงาน
- แลกเปลี่ยนสิ่งที่เรียนมาทั้ง
Quarter
- เขียนสิ่งที่ดีแล้วสิ่งที่ควรพัฒนา
- นำเสนอความเข้าใจ ผ่านละคร
,
คลิป
- ตอบคำถามสิ่งที่อยากเรียนรู้
ชิ้นงาน
- Mind Mapping สรุปองค์ความรู้หลังเรียน
- เขียนตอบคำถามสิ่งที่อยากเรียนรู้
- ละคร
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้
- เข้าใจและสามารถวิเคราะห์
สังเคราะห์ผลกระทบของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศต่อตนเองและผู้อื่นได้อย่างมีวิจารณญาณ
- เข้าใจกระบวนการสร้างสรรค์สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศสามารถออกแบบวางแผนทำสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศที่สร้างคุณค่าต่อส่วนรวมได้
- สามารถเผยแพร่และถ่ายทอดองค์ความรู้เกี่ยวกับ
หน่วย”เด็กยุค ICT in the
specail class”ให้ผู้อื่นเข้าใจได้
ทักษะ
ทักษะชีวิต
-
ใช้ทรัพยากรของห้องที่มีอยู่อย่างจำกัดให้คุ้มค่า เช่น สี กระดาษ ผ้า
- เห็นการเชื่อมโยง
เห็นความสัมพันธ์ของการนำเสนองาน
ทักษะการสื่อสาร
พูดนำเสนอ ละคร
สรุปองค์ความรู้ให้ครูและคนอื่นๆฟังได้
ทักษะการคิด
คิดวางแผนการถ่ายเผยแพร่องค์ความรู้ให้ผู้อื่นสนใจและเข้าใจในสิ่งที่ได้เรียนรู้มาทั้ง
Quarter
คุณลักษณะ
- เคารพและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น
- สนใจกระตือรือร้นในการนำเสนองาน
- มีน้ำใจอดทนในการทำงานจนสำเร็จ
|